วันจันทร์ที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2551

Montagne Pelée



La montagne Pelée, volcan de l'île de la Martinique, doit son nom à l'aspect désolé de ses flancs couverts de cendres suite à une éruption qui eut lieu peu de temps avant l'arrivée des premiers colons vers 1635.
Dominant le nord de l'île de sa masse imposante qui culmine à 1 397 mètres, elle fait partie des neuf volcans actifs de l'arc des
petites Antilles.
Les activités
volcaniques et sismiques importantes des petites Antilles résultent de la subduction des plaques océaniques atlantique et pacifique qui enserrent la plaque caraïbe.
Le dynamisme volcanique péléen se caractérise par des éruptions rares mais violentes : l'
andésite contenue dans les profondeurs du volcan est une lave à forte teneur en silice, très visqueuse.
Cette lave, presque solide, forme un dôme en couvercle dans la bouche éruptive et lorsque la pression ne peut plus être contenue, l'éjection brutale des gaz détruit le couvercle et provoque des nuées ardentes : un nuage de gaz sous pression, de cendres brûlantes et de blocs de lave, déferlent sur les pentes du volcan.




L'éruption de 1902




Le 8 mai 1902, une nuée ardente échappée du cratère a détruit complètement la ville de Saint-Pierre faisant environ 29 000 morts. Il y eut deux survivants, Louis-Auguste Cyparis, un prisonnier sauvé par l'épaisseur des murs de son cachot, et Léon Compère-Léandre, un cordonnier qui vivait à la périphérie de la ville. D'autres sources citent Havivra Da Ifrile, une petite fille.Aujourd'hui reconstruite, Saint-Pierre est une petite cité de 5 000 habitants. Avant l'éruption, la ville était la capitale commerciale de la Martinique.








ภูเขาไฟเปอเล


ภูเขาไฟเปอเล (ฝรั่งเศส: Montagne Pelée, อังกฤษ: Mount Pelée) เป็นภูเขาไฟมีพลังบนปลายด้านทิศเหนือของ French overseas department of Martinique ในทะเลแคริบเบียน มีลักษณะเป็นกรวยภูเขาไฟสลับชั้น ส่วนกรวยประกอบด้วยชั้นของเถ้าธุลีภูเขาไฟและลาวาที่แข็งตัว
Mount Pelée เป็นที่รู้จักเนื่องเมื่อ
พ.ศ. 2445 และผลจากการทำลายซึ่งถูกจัดให้เป็นภัยพิบัติจากภูเขาไฟที่รุนแรงที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 20 มีผู้ประสบภัยประมาณ 26,000-36,000 คน และทำให้เมือง Saint-Pierre ซึ่งเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดใน Martinique ถูกทำลาย รวมทั้งผู้ว่าการของเมืองได้เสียชีวิตในภัยพิบัติครั้งนั้น


การปะทุเมื่อ พ.ศ. 2445


ก่อนที่จะเกิดการปะทุเมื่อ พ.ศ. 2445 เริ่มมีสัญญาณว่าเกิดพุแก๊สเพิ่มมากขึ้นในปล่อง Étang Sec ใกล้กับยอดเขามาตั้งแต่ฤดูร้อนใน พ.ศ. 2443 ไอน้ำที่ปะทุขึ้นมาเล็กน้อยใน พ.ศ. 2335 และ พ.ศ. 2394 แสดงให้เห็นว่าภูเขาไฟลูกนี้ยังมีพลังและมีความเป็นไปได้ที่จะเป็นอันตราย คนพื้นเมืองชาวแคริบรู้จักภูเขาไฟลูกนี้ในฐานะ "ภูเขาอัคคี" จากการปะทุครั้งก่อนหน้าตั้งแต่โบราณกาล
แม้ว่าเวลาก่อนหน้านั้น เท่าที่มีคนทราบ ภูเขาไฟนี้ยังคงสงบเรื่อยมา แต่ก็เริ่มปะทุขึ้นในวันที่
25 เมษายน พ.ศ. 2445 เมื่อต้นเดือนเมษายน ได้มีนักเดินทางบันทึกไว้ว่ามีไอกำมะถันลอยออกมาจากพุแก๊สใกล้กับยอดเขา แต่ไม่มีผู้ใดให้ความสำคัญกับบันทึกครั้งนี้ เนื่องจากในอดีตเคยมีพุแก๊สเกิดขึ้นและหายไปอยู่หลายครั้ง
23 เมษายน - ภูเขาไฟพ่นกรวดภูเขาไฟซึ่งตกโปรยปรายบนด้านทิศใต้และทิศตะวันตกของภูเขาไฟ
25 เมษายน - ยอดภูเขาไฟพ่นกลุ่มควันซึ่งเต็มไปด้วยหินและเถ้าธุลีออกมา แต่ไม่ได้ทำให้เกิดความเสียหายที่รุนแรงนัก
26 เมษายน - พื้นที่รอบๆเต็มไปด้วยเถ้าธุลีภูเขาไฟกระจัดกระจายอยู่ทั่ว แต่ทางฝ่ายบริหารของเมืองยังคงไม่ประกาศภาวะฉุกเฉิน
27 เมษายน - นักเดินทางจำนวนมากปีนขึ้นสู่ยอดเขาเพื่อสำรวจปล่อง Étang Sec ซึ่งขณะนั้นมีน้ำอยู่เต็ม เกิดเป็นทะเลสาบขนาดกว้าง 180 เมตร มีกองเศษหินภูเขาไฟสูง 15 เมตรตั้งอยู่ที่ด้านหนึ่งของทะเลสาบ มีเสียงคล้ายน้ำเดือดในหม้อดังออกมาจากใต้ดิน ขณะที่ในเมืองซึ่งอยู่ห่างจากภูเขาไฟถึง 4 ไมล์เริ่มมีกลิ่นรุนแรงของกำมะถันแพร่กระจายไปทั่ว
30 เมษายน - น้ำในแม่น้ำแม่น้ำ Roxelane และ Rivière des Pères เอ่อล้น ไหลพัดพาเอาหินและต้นไม้ลงจากยอดเขา หมู่บ้าน Prêcheur และ Ste. Philomène ได้รับผลกระทบจากกลุ่มเถ้าธุลีที่พัดเข้าปกคลุมอย่างต่อเนื่อง
2 พฤษภาคม - เวลา 11.30 น. เกิดการระเบิดอย่างรุนแรงบนภูเขาไฟ ตามมาด้วยแผ่นดินไหว และควันดำหนาจำนวนมหาศาลพวยพุ่งขึ้น พื้นที่ครึ่งหนึ่งของเกาะด้านทิศเหนือถูกปกคลุมด้วยเถ้าธุลีและหินพัมมิซเป็นเม็ดละเอียด การระเบิดดำเนินอยู่ราว 5-6 ชั่วโมง ปศุสัตว์เริ่มล้มตายลงด้วยความโหยหิวและกระหายน้ำ เนื่องจากแหล่งน้ำและอาหารปนเปื้อนด้วยเถ้าธุลี

ไม่มีความคิดเห็น: